kpi 2568

1.ระดับความสำเร็จของอำเภอที่มีการขับเคลื่อนงานอนามัยมารดาและทารกแรกเกิดเพื่อการเกิดอย่างมีคุณภาพ
ร้อยละหญิงตั้งครรภฺฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ข้อ1.1 นน. 2
หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพ
หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ (Lab 1)
หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์
หญิงตั้งครรภ์ที่สิ้นสุดการตั้งครรภ์เขตรับผิดชอบได้รับยาเม็ดที่มีส่วนประกอบของไอโอดีน
เด็กทารกแรกเกิดถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
2.ระดับความสำเร็จอำเภอในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการ
-ตำบลขับเคลื่อนมหัศจรรย์1000วันสู่2500 วันพลัส(ประเมินตนเองตำบล1000วัน ผ่านเกณ นน. 1
-ผลการขับเคลื่อน ศพด. 4D
เด็ก 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ นน.1
-เด็ก 6-12 เดือนปีได้รับคัดกรองภาวะโลหิตจาง นน.1
เด็ก 0-5ปีไดัรับการชั่งน.น. วัดส่วนสูง ความยาว นน.1
-ได้รับการติดตามกระตุ้นฯ ด้วยคู่มือ DSPM (90%ขึ้นไป)
-เด็กมีพัฒนาการสมวัย( 87%ขึ้นไป)
-เด็กมีพัฒนาการล่าช้าเข้าถึงบริการพัฒนาการและสุขภาพจิตที่ได้มาตรฐาน (20%ขึ้นไป)
เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน(68 % ขึ้นไป)
-เด็ก 0-5 ปี มีภาวะเตี้ย (ไม่เกิน9%)
-เด็ก 0-5 ปี มีภาวะผอม(ไม่เกิน 4.5%)
3.ระดับความสำเร็จของอำเภอในการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน
-ผลการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับสากล นน. 1
-รายงานผลการดำเนินงาน Health station ในโรงเรียน นน.1
ร้อยละของนักเรียนอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน
ร้อยละของเด็กอายุ 6-12 ปี ได้รับยาเม็ด เสริมธาตุเหล็ก
-ร้อยละของนักเรียนชั้น ป.1 ได้รับการคัดกรองสายตา
4.ระดับความสำเร็จอำเภอผ่านเกณฑ์มาตรฐานการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับอำเภอ
-รายงานกิจกรรม/โครงการ ส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น นน. 1
-รายงานกิจกรรม Line teen club นน 0.5
-ประชากร10-24 ปี มีการประเมินความรอบรู้ด้านเพศวิถีศึกษา 0.5
5.ระดับความสำเร็จของอำเภอในการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนกลุ่มวัยทำงาน
ร้อยละประชาชนอายุ15ปีขึ้นไป ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ HLO นน. 1
20.ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง
ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน
ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง
ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน
ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ร้อยละของผู้ที่มีค่าความดันโลหิตตัวบนเฉลี่ย (SBP) ≥ 180 มม.ปรอท และ/หรือ ค่าความดันโลหิตตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ≥ 110 มม.ปรอท จากการคัดกรองและได้การวัดความโลหิตซ้ำภายใน 7 วัน
ร้อยละผู้ป่วยนอกที่มีค่า SBP ≥ 180 mmHg และ/หรือ DBP ≥ 110 mmHg และได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (I10 – I15) จากการค้นหาในโรงพยาบาล (นับรวม ER)
21.ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน NCDs Remission Clinic
-มีการดำเนินการ โรงเรียนเบาหวาน 2.5
-มีการจัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ประจำตำบล 2.5
-ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ ๒ ที่เข้าสู่โรคเบาหวานระยะสงบ (DM remission) ต่อผู้ป่วยที่สมัครใจเข้าร่วม NCDs remission clinic
-ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้าสู่โรคเบาหวานระยะสงบ (DM remission) ต่อผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ทั้งหมดในพื้นที่
22.ระดับความสำเร็จของอำเภอในการดำเนินงานเพิ่มการเข้าถึงการผ่าตัดต้อกระจก
-ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองเพื่อค้นหาต้อกระจก
-ร้อยละของผู้สูงอายุที่คัดกรองสายตาแล้วพบว่ามี va<10/200ได้รับการส่งต่อเพื่อพบจักษุแพทย์
-ร้อยละของหน่วยบริการมีระบบขึ้นทะเบียนผู้ป่วยต้อกระจก เพื่อติดตามให้เข้ารับการรักษา
23ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็ง
-ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (สะสม)( รอบ6เดือน)
-ประสิทธิภาพในการบริหารชุดตรวจคัดรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA test
-ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งปากมดลูก)ได้รับการส่งต่อเพื่อ colposcopy
-ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งปากมดลูก)ได้รับการส่องกล้อง colposcopy
-ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ( รอบ 6 เดือน)
และไส้ตรง
-ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงผิดปกติ)ได้รับการส่งต่อเพื่อ colonoscopy
-ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงผิดปกติ) ได้รับการส่องกล้อง colonoscopy
-ร้อยละประชากรสตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง (รอบ6เดือน)
-ร้อยละประชากรสตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยเจ้าหน้าที่ (รอบ 6 เดือน)
24.ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข
25.ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานรักษาพยาบาลฉุกเฉิน
26.ระดับความสำเร็จของอำเภอในการดำเนินงานเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุทางถนนและจมน้ำในกลุ่มเด็กและเยาวชนลดลง
29.ระดับความสำเร็จของอำเภอในการดำเนินงานควบคุมป้องกัน บำบัดรักษาและแก้ไขปัญหายาเสพติด
30.ระดับความสําเร็จของอําเภอในการดําเนินงานเพื่อป้องกันการเกิดผู้ป่วยไตวาย ระยะ 5
31.ระดับความสำเร็จของอำเภอ ในการจัดการเชิงระบบ NCD Cluster
(NCD/Stroke/หัวใจ)
1.ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
2.ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
3. พัฒนายกระดับ NCD Clinic Plus
4.คลินิก NCD ใน รพ. และ รพ.สต. มีการดำเนินการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วย AF ในผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
5.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
6ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่มี CVD Risk ≥ 20% หลังได้รับการปรับเปลี่ยนความเสี่ยงแล้วมี CVD Risk ลดลง
7.ร้อยละของหน่วยบริการมีการจัดกิจกรรม Stroke alertและSTEMI alert ในกลุ่มประชาชนทั่วไป ด้วยรูปแบบการสื่อสารอย่างใดอย่างหนึ่ง ในชุมชน( แผ่นพับ,ป้ายประชาสัมพันธ์)
10.อำเภอมีการรวบรวมข้อมูลและจัดการข้อมูลเชิงระบบ เกี่ยวกับการเกิดโรค Stroke/STEMI ในพื้นที่ และสรุปสถานการณ์ในพื้นที่ทุกระดับ
12.ร้อยละของผู้ป่วย stroke ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านภายใน 14 วัน